เริ่มแรกมนุษย์รู้จักจำนวนเพราะมีความจำเป็นต้องใช้ในการดำรงชีวิต คนเลี้ยงสัตว์ต้องนับจำนวนสัตว์ที่เลี้ยงว่ามีครบจำนวนหรือไม่ พวกเขาสามารถที่จะคอยนับจำนวนสัตว์เลี้ยงทีละตัวได้ด้วยการแทนก้อนหินหนึ่งก้อนเท่ากับจำนวนสัตว์หนึ่งตัวจึงเกิดจำนวนนับขึ้นมา
ดังนั้นเราจึงเห็นว่า มนุษย์มีการคิดเรื่องจำนวนมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์ และ จำนวนที่มนุษย์คิดขึ้นได้เป็นครั้งแรกนั้นก็คือ “จำนวนนับ” หรือ ยกตัวอย่างได้ง่ายๆก็คือ 1,2,3,4,…..
จำนวนเต็ม
จากหัวข้อที่แล้ว ที่เคยเกริ่นไว้ตั้งแต่แรกไว้ว่า จำนวนที่มนุษย์ค้นพบได้เป็นครั้งแรกก็คือ จำนวนนับ นั่นก็คือ 1 2 3 4 5 ก็ถือได้ว่าเป็นจำนวนนับ (ในที่นี้จะหมายถึงเซตของจำนวนนับ) แทนสัญลักษณ์ไว้ด้วย



ตัวอย่าง



0 ไม่ถือว่าเป็นทั้งจำนวนเต็มบวก หรือ จำนวนเต็มลบ แต่จะถือว่าเป็นเพียงแค่นวนเต็มศูนย์
จำนวนเศษส่วน คงจะเป็นคำที่ชินชูชินตากันมาบ้างแล้วนะคะ สำหรับเรื่องเศษส่วนจำนวนเต็ม ซึ่งเป็นไปได้โดยง่ายเลยที่เราจะสามารถมองเห็นความแตกต่างระหว่างเศษส่วนและจำนวนเต็มได้เป็นอย่างดี
ตัวอย่าง
เศษส่วน :

จำนวนที่เป็นเศษส่วนของจำนวนเต็มนั้น ตัวส่วนจะต้องไม่เป็นศูนย์ มิฉะนั้นแล้ว ค่าของจำนวนจะกลายเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหาค่าได้ หรือเป็น อินฟินิตี้
จำนวนตรรกยะ (rational number) จากแผนภาพทางข้างต้นที่กำหนดมาให้นั้น เราจะพบว่า ทั้งจำนวนเต็ม และจำนวนเศษส่วนนั้น ล้วนแล้วแต่เป็นองค์ประกอบของ จำนวนตรรกยะทั้งสิ้น
จำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนอยู่ในรูปเศษส่วน
โดยที่
และ
เป็นจำนวนเต็ม และ 




จากนิยามทางข้างต้น ถ้าเราพบว่า








จากทั้งหมดที่กล่าวถึงมานั้น ล้วนแล้วแต่เป็นความหมายที่เกี่ยวเนื่องกับจำนวนตรรกยะทั้งสิ้น ดังนั้น เราจะมาสรุปให้ชัดๆกันไปเลยว่า จำนวนตรรกยะนั้น ได้แก่จำนวนชนิดใดบ้าง ซึ่งจะแสดงให้ดูดังต่อไปนี้
1. จำนวนเต็ม
2. จำนวนที่เป็นเศษส่วนของจำนวนเต็ม โดยที่ตัวส่วนจะไม่เป็นศูนย์
3.จำนวนที่เป็นทศนิยมรู้จบ
4.จำนวนที่เป็นทศนิยมซ้ำๆ
เรื่องสุดท้ายในหัวข้อนี้ จำนวนนับ จำนวนเต็มศูนย์ จำนวนเต็มลบ และจำนวนตรรกยะ จากที่กำหนดให้ว่า






เซตของจำนวนตรรกยะ เป็นเซตที่มีขอบเขตเพียงแค่ การบวก การลบ การคูณ และการหาร นอกจากนั้น เราพบว่า
ผลบวกของจำนวนตรรกยะ เป็นจำนวนตรรกยะ
ผลลบของจำนวนตรรกยะ เป็นจำนวนตรรกยะ
ผลคูณของจำนวนตรรกยะ เป็นจำนวนตรรกยะ
แสดงว่าเซตของจำนวนตรรกยะ มีคุณสมปิดของการบวก การลบ และการคูณ
จำนวนอตรรกยะ (irrational number)
จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนเป็นเศษส่วนของจำนวนเต็มโดยที่ตัวส่วนไม่เท่ากับศูนย์ แต่สามารถเขียนเป็นทศนิยมไม่รู้จบแบบไม่ซ้ำได้ ด้วยเหตุที่เซตของจำนวนตรรกยะ
และเซตของจำนวนอตรรกยะ
เป็นเซตต่างสมาชิก และเมื่อนำมายูเนียนกันแล้ว จะได้เซต
ดังนั้น เซตของจำนวนอตรรกยะ 




สมบัติของจำนวนจริง
สมบัติการเท่ากันของจำนวนจริง | |||||||
กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ | |||||||
1. สมบัติการสะท้อน a = a | |||||||
2. สมบัติการสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a | |||||||
3. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c | |||||||
4. สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c | |||||||
5. สมบัติการคูณด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว ac = bc | |||||||
• สมบัติการบวกในระบบจำนวนจริง | |||||||
กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ | |||||||
1. สมบัติปิดการบวก a + b เป็นจำนวนจริง | |||||||
2. สมบัติการสลับที่ของการบวก a + b = b + c | |||||||
3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มการบวก a + ( b + c) = ( a + b ) + c | |||||||
4. เอกลักษณ์การบวก 0 + a = a = a + 0 | |||||||
นั่นคือ ในระบบจำนวนจริงจะมี 0 เป็นเอกลักษณ์การบวก | |||||||
5. อินเวอร์สการบวก a + ( -a ) = 0 = ( -a ) + a | |||||||
นั่นคือ ในระบบจำนวนจริง จำนวน a จะมี -a เป็นอินเวอร์สของการบวก | |||||||
• สมบัติการคูณในระบบจำนวนจริง | |||||||
กำหนดให้ a, b, c, เป็นจำนวนจริงใดๆ | |||||||
1. สมบัติปิดการคูณ ab เป็นจำนวนจริง | |||||||
2. สมบัติการสลับที่ของการคูณ ab = ba | |||||||
3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการคูณ a(bc) = (ab)c | |||||||
4. เอกลักษณ์การคูณ 1 · a = a = a · 1 | |||||||
นั่นคือในระบบจำนวนจริง มี 1 เป็นเอกลักษณ์การคูณ | |||||||
5. อินเวอร์สการคูณ a · a-1 = 1 = a · a-1, a ≠ 0 | |||||||
นั่นคือ ในระบบจำนวนจริง จำนวนจริง a จะมี a-1 เป็นอินเวอร์สการคูณ ยกเว้น 0 | |||||||
6. สมบัติการแจกแจง | |||||||
a( b + c ) = ab + ac | |||||||
( b + c )a = ba + ca | |||||||
จากสมบัติของระบบจำนวนจริงที่ได้กล่าวไปแล้ว สามารถนำมาพิสูจน์เป็นทฤษฎีบทต่างๆ ได้ดังนี้ | |||||||
ทฤษฎีบทที่ 1 | กฎการตัดออกสำหรับการบวก | ||||||
เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ | |||||||
ถ้า a + c = b + c แล้ว a = b | |||||||
ถ้า a + b = a + c แล้ว b = c | |||||||
ทฤษฎีบทที่ 2 | กฎการตัดออกสำหรับการคูณ | ||||||
เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ | |||||||
ถ้า ac = bc และ c ≠ 0 แล้ว a = b | |||||||
ถ้า ab = ac และ a ≠ 0 แล้ว b = c | |||||||
ทฤษฎีบทที่ 3 | เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ | ||||||
a · 0 = 0 | |||||||
0 · a = 0 | |||||||
ทฤษฎีบทที่ 4 | เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ | ||||||
(-1)a = -a | |||||||
a(-1) = -a | |||||||
ทฤษฎีบทที่ 5 | เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ | ||||||
ถ้า ab = 0 แล้ว a = 0 หรือ b = 0 | |||||||
ทฤษฎีบทที่ 6 | เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ | ||||||
a(-b) = -ab | |||||||
(-a)b = -ab | |||||||
(-a)(-b) = ab | |||||||
เราสามารถนิยามการลบและการหารจำนวนจริงได้โดยอาศัยสมบัติของการบวกและการคูณใน ระบบจำนวนจริงที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น | |||||||
• การลบจำนวนจริง | |||||||
บทนิยาม | เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ | ||||||
a- b = a + (-b) | |||||||
นั่นคือ a - b คือ ผลบวกของ a กับอินเวอร์สการบวกของ b | |||||||
• การหารจำนวนจริง | |||||||
บทนิยาม | เป็นจำนวนจริงใดๆ เมื่อ b ≠ 0 | ||||||
| |||||||
|